วันเสาร์ที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2557

บทที่ 5 การสร้างแบบจำลองพื้นผิว

วิธีการประมาณค่าช่วง มีดังนี้
 -  IDW ( Inverse Distance Weight )
            สร้างแฟ้มข้อมูลของเราขึ้นมา


จากนั้นเข้าไปที่ RTArcGIS > เข้าไปที่ Kanchanaburi > เลือก SPOT > จากนั้นเปิดข้อมูลจุดขึ้นมา จะได้ข้อมูลดังภาพ


            จากนั้นดูค่าความสูง โดยคลิกขวาที่ SPOT > จากนั้นเลือก Open Attribute


จากนั้นมาที่ ArcToolbox  > เข้าไปที่ Spatial Analyst Tools > เข้าไปที่ Interpolation > เลือก IDW


            ที่ช่อง Input ให้เราเลือกเป็น SPOT > Z Value เลือกเป็น ELEVATION > จากนั้นตั้งชื่อว่า IDW เก็บไว้ในแฟ้มข้อมูลที่เราสร้าง > ใส่ค่า Output เป็น 40 > จากนั้นกด OK


            เมื่อโหลดเสร็จก็จะได้ข้อมูล DEM หรือข้อมูลเชิงเลขขึ้นมาดังภาพ


            ต่อมาเข้าไปที่ RTArcGIS > เข้าไปที่ KANCHANABURI > เปิดข้อมูล PROVINCE  ขึ้นมา จะได้ข้อมูลขอบเขตจังหวัดขึ้นมาดังภาพ


            จากนั้นใส่ค่าเหมือนเดิม แล้วเข้าไปเซทค่าที่ Evironments >  เซทที่ Processing Extent ให้เหมือนกับขอบเขตจังหวัด โดยเลือกเป็น Same as layer PROVINCE > จากนั้นเข้าไปเซทค่าที่ Raster Analysis โดยช่อง Mark ให้เซทเป็น PROVINCE > จากนั้นกด OK


            เมื่อโหลดเสร็จแล้วก็จะได้ข้อมูลดังภาพ


เมื่อนำข้อมูลจุดออก ก็จะได้ข้อมูลแบบจำลองพื้นผิวดังภาพ


-  Natural Neighbors
มาที่ ArcToolbox  > เข้าไปที่ Spatial Analyst Tools > เข้าไปที่ Interpolation > เลือก Natural Neightbor > เซทค่าเหมือน IDW แล้วตั้งชื่อว่า Natural เก็บไว้ในแฟ้มข้อมูลที่เราสร้าง > ใส่ค่า Output เป็น 40


จากนั้นเข้ามาเซทค่าที่ Evironments >  เซทที่ Processing Extent ให้เหมือนกับขอบเขตจังหวัด โดยเลือกเป็น Same as layer PROVINCE > จากนั้นเข้าไปเซทค่าที่ Raster Analysis โดยช่อง Mark ให้เซทเป็น PROVINCE > จากนั้นกด OK


            จะได้ข้อมูลจากการสร้างแบบจำลองวิธี Natural Neighbors ดังภาพ


-  Spline
แบบที่ 1 เลือก Spline Type เป็น REGULARIZED
มาที่ ArcToolbox  > เข้าไปที่ Spatial Analyst Tools > เข้าไปที่ Interpolation > เลือก Spline > ที่ช่อง Input ให้เราเลือกเป็น SPOT > Z Value เลือกเป็น ELEVATION > จากนั้นตั้งชื่อว่า Spline เก็บไว้ในแฟ้มข้อมูลที่เราสร้าง > ใส่ค่า Output เป็น 40 > ที่ Spline Type เลือกเป็น REGULARIZED > จากนั้นเข้าไปเซทค่าที่ Evironments > แล้วกด OK


จะได้ข้อมูลแบบจำลองพื้นผิวแบบ Spline ดังภาพ


แบบที่ 2 เลือก Spline Type เป็น TENSION
มาที่ ArcToolbox  > เข้าไปที่ Spatial Analyst Tools > เข้าไปที่ Interpolation > เลือก Spline > ที่ช่อง Input ให้เราเลือกเป็น SPOT > Z Value เลือกเป็น ELEVATION > จากนั้นตั้งชื่อว่า Spline เก็บไว้ในแฟ้มข้อมูลที่เราสร้าง > ใส่ค่า Output เป็น 40 > ที่ Spline Type เลือกเป็น TENSION > จากนั้นเข้าไปเซทค่าที่ Evironments > แล้วกด OK


จะได้ข้อมูลแบบจำลองพื้นผิวแบบวิธี Spline ขึ้นมาดังภาพ


-  Kriging
มาที่ ArcToolbox  > เข้าไปที่ Spatial Analyst Tools > เข้าไปที่ Interpolation > เลือก Kriging > ที่ช่อง Input ให้เราเลือกเป็น SPOT > Z Value เลือกเป็น ELEVATION > จากนั้นตั้งชื่อว่า Kriging เก็บไว้ในแฟ้มข้อมูลที่เราสร้าง > ใส่ค่า Output เป็น 40 > จากนั้นเข้าไปเซทค่าที่ Evironments > แล้วกด OK


          จะได้ข้อมูลแบบจำลองพื้นผิวแบบ Kriging ดังภาพ


-  Trend
มาที่ ArcToolbox  > เข้าไปที่ Spatial Analyst Tools > เข้าไปที่ Interpolation > เลือก Trend > ที่ช่อง Input ให้เราเลือกเป็น SPOT > Z Value เลือกเป็น ELEVATION > จากนั้นตั้งชื่อว่า Trend เก็บไว้ในแฟ้มข้อมูลที่เราสร้าง > ใส่ค่า Output เป็น 40 > จากนั้นเข้าไปเซทค่าที่ Evironments > แล้วกด OK


จะได้ข้อมูลแบบจำลองพื้นผิวแบบ Trend  ดังภาพ


-  Topo to Raster
          เปิดข้อมูล CONTOUR , STREAM และ SPOT มายัง Display Area


จากนั้นมาที่ ArcToolbox  > เข้าไปที่ Spatial Analyst Tools > เข้าไปที่ Interpolation > เลือก Topo to Raster> ที่ช่อง Input ให้เราเลือก SPOT , STREAM , CONTOUR และ PROVINCE > จากนั้นเซทค่า Feature Layer > แล้วตั้งชื่อว่า Topo เก็บไว้ในแฟ้มข้อมูลที่เราสร้าง > ใส่ค่า Output cell size > OK


            จจได้แบบจำลองพื้นผิวด้วยวิธี Topo to Raster ดังภาพ


            หากดูความสูงไม่ออก สามารถติ๊กถูกที่หน้า STREAM แล้วจะได้ข้อมูลเส้นชั้นความสูงและทางน้ำได้ดังภาพ


การสร้าง TINs
            ไปที่ ArcToolbox > จากนั้นเข้าไปที่ 3D Analyst Tools > จากนั้นเข้ามาที่ TIN Management > เลือก Create TIN > จากนั้นจะได้หน้าต่าง Output TIN ขึ้นมา ให้เราเซทค่า Input Feature Class ดังภาพ


            เมื่อโหลดเสร็จ จะได้แบบจำลองพื้นผิวด้วยวิธี TINs ขึ้นมาดังภาพ
























วันศุกร์ที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2557

บทที่ 4 การสอบถามข้อมูล

การสอบถามข้อมูลจาก Navigation Tools
          ไปที่ RTArcGIS > เข้า Kanchanaburi > จากนั้นลาก AMPHOE ลงมายัง Display Area


           จากนั้นคลิกขวาที่ Toolbars เลือก Tools


การสอบถามข้อมูลโดยใช้คำสั่ง Identify สามารถทำได้โดยเข้าไปคลิกเลือก Identify ในแถบเครื่องมือ Tools


          จากนั้นเมื่อเลือกคำสั่งแล้ว เราสามารถสอบถามข้อมูลโดยเข้าไปคลิกที่พื้นที่ที่เราต้องการทราบ จากนั้นจะมีหน้าต่างบอกข้อมูลขึ้นมาดังภาพ



การสอบถามข้อมูลโดยใช้คำสั่ง Find สามารถทำได้โดยเข้าไปคลิกเลือก Find ในแถบเครื่องมือ Tools


            เมื่อเลือกคำสั่งแล้วก็จะมีหน้าต่างข้อมูลขึ้นมา เราสามารถสอบถามข้อมูลได้โดยพิมพ์ข้อความหรือชื่ออำเภอลงไปที่ช่อง Find ดังภาพ


            เมื่อเราคลิกที่ชื่ออำเภอ ก็จะทราบข้อมูลที่เราค้นหา


การสอบถามข้อมูลโดยใช้คำสั่ง Go To XY สามารถทำได้โดยเข้าไปคลิกเลือก Go To XY ในแถบเครื่องมือ Tools


            เราสามารถเปลี่ยนหน่วยได้ตามต้องการ โดยไปคลิกที่ลูกศรชี้ลง ดังภาพ


จากนั้นหากเราต้องการสอบถามข้อมูลเราสามารถพิมพ์ค่า XY ลงไปในช่องค้นหา ดังภาพ


การแสดงเฉพาะข้อมูลที่เลือก ( Definition Query ) โดยใช้หน้าต่าง Query Builder และภาษา SQL
          เมื่อเปิดข้อมูล AMPHEO ขึ้นมาแล้วให้คลิกขวาไปที่ Properties > จากนั้นกดเลือก Definition > คลิกไปที่ Query Builder


            จากนั้นจะขึ้นหน้าต่าง Query Builder ขึ้นมาดังภาพ โดยส่วนบนจะแสดงฟิลด์ทั้งหมดในตาราง Attribute ด้านซ้ายมือจะเป็นตัว Operetor ด้านล่างไว้ป้อนเงื่อนไขที่ต้องการค้นหา


            จากนั้นทำการใส่สูตรตามต้องการ


            กด Apply จะได้ข้อมูลอำเภอที่เราค้นหาดังภาพ


            หากต้องการแสดงแผนที่จังหวัด ให้เราลบสูตรที่เราใส่แล้วกด Apply จะได้ข้อมูลขอบเขตขึ้นมาดังภาพ


การสอบถามข้อมูลโดยใช้ Select by Attribute และภาษา SQL
            เข้ามาที่ LAB11 > เข้าไปที่ World > เปิดข้อมูล Country ขึ้นมา


จากนั้นเปิดตาราง Country ขึ้นมาดังภาพ 


            ส่วนฟิลด์ที่เราต้องทราบที่อยู่ในตาราง Attribute มีดังนี้
            -  CNTRY_NAME           บอกชื่อประเทศ
            -  POP_CNT                 บอกจำนวนประชากร
            -  SQKM_CNT               บอกขนากพื้นที่เป็นตารางกิโลเมตร
            -  SQMI_CNT                บอกขนาดพื้นที่เป็นตารางไมล์
            -  CURR_TYPE              บอกสกุลเงิน
            -  CURR_CODE            บอกรหัส
            -  LANDLOCK              จะบอกว่ามีพื้นที่ติดทะเลหรือไม่

 การเปิดคำสั่ง Select By Attribute สามารถทำได้ 2 วิธี ได้แก่
1.                 สามารถทำได้โดยเข้าไปที่ Selection > เลือก Select By Attribute


2.      คลิกที่แถบ Table Options > เลือก Select By Attribute


            เมื่อเปิดคำสั่ง Select By Attribute จะมีหน้าต่าง Select By Attribute ขึ้นมา จากนั้นให้ใส่สูตรตามต้องการ > จากนั้นกด Apply


            จะได้ไฮไลต์ที่ใส่สูตรขึ้นมา หากต้องการดูข้อมูลที่เราใส่สูตรค้นหาทั้งหมด ให้กด Show Selected Record ดังภาพ


การสอบถามข้อมูลโดยใช้ Select By Location
          เปิดชั้นข้อมูล AMPHOE TRANS VILLAGE จาก KANCHANABURI ลงมายัง Display Area


            จากนั้นเข้าไปที่ Selection เลือก Select By Location


            จากนั้นจะมีหน้าต่าง Select By Location ขึ้นมา ที่ Target  layer เลือกเป็น Village > ที่ Source layer เลือก Trans > จากนั้นเราจะค้นหาหมู่บ้านที่อยู่ภายในรัศมี 100 เมตร > Apply


            จะได้ข้อมูลหมู่บ้านที่อยู่ภายในรัศมีขึ้นมาดังภาพ


            จากนั้นเปลี่ยน Spatial selection method เป็น Target layer features touch the boundary of the Source layer feature > OK


            ไฮไลต์สีฟ้าก็จะหายไปดังภาพ


การสอบถามข้อมูลโดยใช้ Select BY Attribute ร่วมกับ Select By Location
          เปิดข้อมูล Country  ลงมายัง Display Area


            จากนั้นไปที่ Selection > เลือก Select By Attribute


            จากนั้นใส่สูตรลงไปแล้วกด Apply ได้เลย


            เมื่อใส่เงื่อนไขไปแล้วจะได้ข้อมูลตามสูตรดังภาพ