การกำหนด Snapping
เปิดแฟ้มข้อมูล RTArcGIS >
KANCHANABURI >
Kanchanaburi > PROVINCE > เลือก Shapefile ที่เป็นโพลิกอน
จากนั้นลากข้อมูล Province ลงมาที่ Display
Area แล้วตรวจสอบค่าพิกัดของจังหวัดกาญจนบุรี โดยคลิกขวาที่ PROVINCE > เลือก Properties
จะมีหน้าต่าง layer
Properties ขึ้นมา > เลือก Sorce > จากนั้นดูค่าพิกัดที่ Projected
Coordinate system
เมื่อเราทราบค่าพิกัดของจังหวัดกาญจนบุรีแล้ว ให้เราสร้างแฟ้มข้อมูลขึ้นมาใหม่ > จากนั้นสร้าง Shapefile ( จุด
เส้นและโพลิกอนขึ้นมา ) โดยคลิกขวาที่แฟ้มข้อมูลที่เราสร้าง >
New > Shapefile
การสร้างข้อมูล Shapefile แบบจุด เส้นและโพลิกอน
จะมีหน้าต่าง Create New Shapefile ขึ้นมา
ที่ช่อง Name ให้เราตั้งชื่อ > เลือก Feature Type > จากนั้นเลือก Edit ( สร้างทั้งจุด เส้นและโพลิกอน )
จะมีหน้าต่าง Spatial Reference Properties ขึ้นมา
> เลือก Select > จากนั้นให้เราใส่ค่าพิกัดโดยเข้าไปที่ Projected Coordinate
System > UTM
> Asia >
Indian 1975 UTM Zone 47N > จากนั้นกด Add >
OK
จะได้ข้อมูล Shapefile ขึ้นมาดังภาพ
การกำหนด Snapping
เปิดเครื่องมือ Snapping ขึ้นมา
โดยคลิกขวาที่พื้นที่ว่างตรงแถบ Tool Bar > เลือก Snapping
จะได้เครื่องมือ Snapping ขึ้นมาดังภาพ
แถบคำสั่ง Snapping มี 4 คำสั่ง คือ
1. Point Snapping ใช้เมื่อเราต้องการให้ข้อมูลไปชิดกับจุด
2. End Snapping ใช้เมื่อต้องการให้เส้นชิดติดกัน
3. Vertex Snapping ให้เมื่อเราต้องการให้ข้อมูลชิดติดกับมุมที่เราต้องการ
4. Edge Snapping ใช้เมื่อเราต้องการให้ข้อมูลชิดติดขอบทั้งเส้นและโพลิกอน
การย้าย เพิ่ม ลบข้อมูลจุด เส้นและโพลิกอน
จากนั้นก่อนที่เราจะทำการดิจิไตซ์ จุด เส้นและโพลิกอน ให้เราเข้าไปที่ Editor > Start Editing > แล้วเพิ่มจุดเข้ามา
1.
การใช้เครื่องมือ Point Snapping
ใช้เครื่องมือ Point Snapping เพื่อให้ข้อมูลเข้าไปชิดกับจุด
จากนั้นใช้เครื่องมือ Point Snapping เพื่อให้ข้อมูลเข้าไปชิดกับจุด
2. การใช้เครื่องมือ End Snapping
เราจะใช้เครื่องมือ
End Snapping เพื่อใช้ทำให้เส้นชิดติดกัน
3. การใช้เครื่องมือ Vertex Snapping
เราจะใช้เครื่องมือนี้ก็ต่อเมื่อเราต้องการให้ข้อมูลชิดติดกับมุม
4. การใช้เครื่องมือ Edge Snapping
จะใช้ก็ต่อเมื่อต้องการให้ข้อมูลชิดติดกับขอบทั้งจุด
เส้น และโพลิกอน
จะได้ข้อมูลดังภาพ
การย้าย
เลือก Edit Tool > จากนั้นคลิกเม้าส์ไปที่จุดที่เราต้องการย้ายให้ขึ้นไฮไลต์สีฟ้า
จากนั้นลากเส้นไปยังตำแหน่งที่เราต้องการ
การลบ
ทำได้โดยการคลิกเข้าไปที่ข้อมูลที่เราต้องการลบ
จากนั้นกด Delete ได้เลย
จะได้ข้อมูลดังภาพ
ถ้าหากเราต้องการตกแต่งให้มีมุมมากกว่าเดิม
ให้เราเลือกหรือสร้างข้อมูลขึ้นมาใหม่ จากนั้นเลือก Edit Vertics > จากนั้นคลิกเลือกที่ข้อมูลที่เราวาด
> คลิกขวา เลือก Insert Vertex
จากนั้นก็สร้างมุมได้ตามใจชอบ
ถ้าต้องการลบข้อมูล ให้เราคลิกขวา จากนั้นเลือก Delete
การ Trimline
ลากเส้นตัดกัน > จากนั้นเปิด ArcToolbox ขึ้นมา >
เลือก Editing Tools
> Trim line
จากนั้นจะมีหน้าต่าง Trim line ขึ้นมา
ที่ช่อง Input ตั้งชื่อว่า Line > ที่ Dangle Length ให้เราใส่ค่าหรือตัวเลขที่เราต้องการตัดเส้น >
จากนั้นเปลี่ยนหน่วยเป็น Kilometers > OK
เมื่อเสร็จแล้วก็จะได้ดังภาพ
การแบ่งเส้น Splitting Line
คลิกเส้นที่ต้องการจะแบ่ง
> จากนั้นเลือกคำสั่ง Split Tool บนแถบ
Editor
เมื่อคลิกเลือกคำสั่ง Split
Tool แล้ว ก็จะได้เส้นที่ถูกแบ่งขึ้นเป็นไฮไลต์สีฟ้า ดังภาพ
อีกวิธีหนึ่ง ทำการ Split โดยไปที่
Editor > Spilt
จากนั้นจะมีหน้าต่าง Split
ขึ้นมา ที่ช่อง distance ให้ใส่ค่าไป 15000
> OK
จะได้การ Split ขึ้นมาดังภาพ
จากนั้นเราจะทำการตัดอีกวิธี
โดยการ Into Equal Parts ให้เราใส่ค่า 5 ลงในช่อง Into Equal Parts > OK
จะได้ดังภาพ
มีอีกวิธีที่เราจะทำการ Split คือ วิธี Percentage
ให้เราใส่ค่า 90 ลงไปในช่อง Percentage
> OK
จะได้ข้อมูลขึ้นมาดังภาพ
การแบ่งโพลิกอน
เลือกโพลิกอนที่ต้องการ > จากนั้นเลือกคำสั่ง
Cut Polygon Tool แล้วเลือกตำแหน่งที่ต้องการ
จะได้ข้อมูลหลังจากการตัดโพลิกอนดังภาพ
การปรับเส้นและรูปทรงของโพลิกอน
เลือก Edit
Vertics จากนั้น เลือกโพลิกอนที่ต้องการ > คลิกขวาเลือก
Insert Vertex
จากนั้นจัดการรูปทรงโพลิกอนตามต้องการ
การสร้างโพลิกอนโดยใช้ขอบร่วม ( Auto Complete )
เลือกสร้างโพลิกอนแบบ Auto Complete Polygon
จะได้ข้อมูลขึ้นมาดังภาพ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น