การจัดมาตราส่วนแผนที่
สร้างโฟลเดอร์ใหม่โดยตั้งชื่อว่า Project_ชื่อเรา
จากนั้นเข้าไป LAB11 Copy Chaopaya ลงมาที่แฟ้มข้อมูลที่เราสร้าง > จากนั้นลากข้อมูล Chaopaya ลงมาที่ Display
Area
จากนั้นเราจะทำการเซทหน่วยของแผนที่โดยการเลือก
View > Data Frame Properties
จะมีหน้าต่าง Data Frame Properties ขึ้นมา
เลือก General แล้วไปเซทค่าที่ Units เซท
Map กับ Display เป็น Meters จากนั้นกด OK ได้เลย
หากจะเพิ่มมาตราส่วนของแผนที่
สามารถไปเลือกที่ Drop Dawn List ที่แถบ Tool Bar ได้เลย
หากไม่มีมาตราส่วนที่ต้องการ
สามารถเพิ่มมาตราส่วนได้โดยเข้าไปที่ Custumize This List แล้วพิมพ์มาตราส่วนลงไป
แล้วกด Add
หากต้องการลบมาตราส่วนที่เพิ่มเข้ามา
ให้เราเลือกที่มาตราส่วนที่เราต้องการลบ โดยให้ขึ้นไฮไลต์สีฟ้า จากนั้นกด Delete
การกำหนดระบบพิกัดภูมิศาสตร์ (Define Projection)
ถัดมาเราจะทำการกำหนดค่าพิกัดให้แม่น้ำเจ้าพระยา
โดยเราสามารถเข้าไปดูค่าพิกัดของแม่น้ำเจ้าพระยาได้ โดยคลิกขวาที่ Chaopaya >
Properties > เลือก Sorce
ถ้าไม่มีค่าพิกัดเราสามารถใส่ค่าพิกัดได้
โดยไปที่ ArcToolbox > เลือก Data Management
Tools > เข้าไปที่ Projections
and Tranformations เลือก Define Projection
จากนั้นจะมีหน้าต่าง
Spacial Refrrence Properties ขึ้นมา ให้เราเลือก Select ใส่ค่าพิกัดลงไป โดยใส่ค่าพิกัดเป็น WGS 1984 UTM Zone 47N
จากนั้นจะได้ค่าพิกัดที่เรากำหนดลงไป
ดังภาพ
เมื่อเซทค่าพิกัดเรียบร้อยแล้ว
ต้องมาดูค่าพิกัดอีกครั้งโดยคลิกขวาที่ Chaopaya > เลือก Properties
> Sorce หากข้อมูลมีพิกัดก็จะขึ้นมาดังภาพ
การแปลงระบบพิกัดภูมิศาสตร์หรือโซน (Projection)
ถัดมาให้เราเปิดข้อมูลขึ้นมาใหม่โดยเข้าไปที่
File > เลือก New จะได้หน้าข้อมูลเปล่าขึ้นมา
ให้เราเข้าไปที่ LAB11 > เข้าไปที่ World > เลือก Country แล้วลากลงมายัง Display Area
จะได้แผนที่โลกขึ้นมาดังภาพ
จากนั้นให้มาดูค่าพิกัด
โดยคลิกขวาที่ Country > เลือก Properties
> ดูที่ Sorce ในตอนนี้ค่าพิกัดของแผนที่โลกเป็นแบบ Geographic Coordinate System
ให้เราแปลงจาก Geographic
Coordinate System มาเป็น Projected Coordinate System โดยเข้าไปที่ ArcToolbox > เข้าไปที่ Data
Management Tools > เข้าไปที่ Projections and Tranformations >
เข้าไปที่ Feature > เลือก Project
จะมีหน้าต่าง Project
ขึ้นมา ที่ช่อง Input ให้เรากดที่ Drop
Dawn List แล้วเลือก Country > ในช่อง Output
ให้เปิดแฟ้ม Project ที่เราสร้างขึ้นมา
แล้วบันทึก Country_UTM ลงไป > ที่ช่อง
Output Coordinate System ให้ใส่ค่าพิกัดลงไป
โดยเลือกใส่ค่าพิกัด WGS 1984 UTM Zone 47N > จากนั้นกด OK
จะได้ข้อมูลดังภาพ
การแปลงพื้นหลักฐาน (Datum Transformation)
เข้ามาที่ LAB11 แล้วลาก Province
ในที่เป็นโพลิกอนลงมาที่ Display Area
จากนั้นเข้าไปดูค่าพิกัดของ Province โดยคลิกขวาที่
Province > Properties
> Source แล้วดูค่าพิกัด
จะเห็นได้ว่า Province จะมีทั้งพิกัดภูมิศาสตร์และพิกัดกริด
ซึ่งพิกัดภูมิศาสตร์เป็นพิกัดเก่าที่ถูกจำเอาไว้
เมื่อเช็คค่าพิกัดเรียบร้อยแล้ว ให้ลาก
Bangkok ลงมาที่ Display
Area จะมีหน้าต่างที่บอกว่าค่าพิกัดของ Province กับ Bangkok ต่างกัน ให้เรากดปิดไปได้เลย จากนั้น Zoom to layer ที่
Bangkok
แล้วเลือก View
> Data Frame Properties
จากนั้นเลือกค่าพิกัดให้เหมือน Province โดยมีค่าพิกัด
WGS 1984 UTM Zone 47N > แล้วเลือก Tranformations
จากนั้นจะมีหน้าต่างขึ้นมา
ให้เราเลือก GCS Indian 1975 > ที่ช่อง Into ให้กดที่ Drop Dawn List เลือก GCS WGS 1984
> กดที่ New
จะมีหน้าต่างขึ้นมา ให้เราใส่ค่าคงที่ลงไป
โดยให้ X = 206 Y = 873 Z = 295 จากนั้นกด OK
จะได้ข้อมูลที่ซ้อนทับกันสนิทดังภาพ
จากนั้นทำการบันทึกข้อมูลเอาไว้โดยคลิกขวาที่
Bangkok > เลือก Data
> Export Data
จะมีหน้าต่างขึ้นมาให้เราตั้งชื่อ
แล้วเปลี่ยน Type
เป็น Shapefile > Save จะได้ข้อมูลขึ้นมาดังภาพ
การทำ Append ( เป็นการรวมข้อมูลทั้งจุด เส้นและโพลิกอน )
เข้าไปที่ LAB12 > Data > Copy LU5038i กับ LU5138iV มาไว้ในแฟ้ม Project ของเรา จากนั้นลากข้อมูลทั้งสองลงมายัง Display Area
จากนั้นไปที่ ArcToolbox > เข้าไปที่ Data Management Tools
> เข้าไปที่ General > แล้วเลือก Append
จะมีหน้าต่าง Append
ขึ้นมา ที่ช่อง Input ให้เลือก LU5038i
กับ LU5138iv > ที่ช่อง Target ให้กดที่ Drop Dawn List แล้วเลือก LU5038i
> ที่ช่อง Schema Type ให้กดที่ Drop
Dawn List แล้วเลือกเป็น NO TEST แล้วก็ OK
จะได้ข้อมูลที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงและขึ้น
Error ดังภาพ
จากนั้นจะลองเปลี่ยนที่ช่อง Input ให้เลือก LU5038i
> ที่ช่อง Target ให้กดที่ Drop Dawn
List แล้วเลือกเป็น LU5138iv > ที่ช่อง Schema Type ให้กดที่ Drop Dawn List แล้วเลือกเป็น NO
TEST จากนั้น OK
จะได้ข้อมูลที่ Append เสร็จดังภาพ
การทำ Erase ( การตัดและคลิปข้อมูล )
เข้าไปที่ LAB12 > เลือก Geodatabase ของ Pathum
Thani > ลาก SOILS กับ WATER ลงมายัง Display Area
จากนั้นไปที่ ArcToolbox > เข้าไปที่
Analysis Tools > เข้า Overlay > แล้วเลือก Erase
จะมีหน้าต่าง Erase ขึ้นมา ที่ช่อง Input
ให้เลือกเป็น SOILS > ที่ช่อง Erase
Feature ให้เลือกเป็น WATER > ที่ช่อง Output
ให้ตั้งชื่อเป็น Erase แล้วบันทึกไว้ที่แฟ้ม Project
ที่เราสร้าง จากนั้นกด OK
เมื่อทำการ Erase เสร็จ
ก็จะได้ข้อมูลขึ้นมาดังภาพ
การจัดกลุ่มข้อมูลใหม่ (Reclassify)
เข้าไปที่ Prachinburi > ลาก
Prachindem 30m ลงมาที่ Display Area
จากนั้นเปลี่ยนสีได้ตามต้องการ
จากนั้นไปที่ ArcToolbox > เข้าไปที่ 3D Analyst
Tools > เข้า Raster Reclass > เลือก Reclassify
ที่ช่อง Input เลือก Prachinburidem30m > ที่ช่อง Reclass
field เลือกเป็น Value > จากนั้นกด Classify
Classification ตรง Method
เลือกเป็น Equal Interval > ที่ Classes
เลือกเป็น 9 จากนั้นกด OK
จากนั้นบันทึกข้อมูลไว้ในแฟ้ม
Project ที่เราสร้าง > แล้วกด OK
ได้เลย
จะได้ข้อมูลที่ Reclassify ขึ้นมาดังภาพ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น