วันเสาร์ที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2557

บทที่ 8 แบบจำลองเวกเตอร์

การสร้างแบบจำลองเวกเตอร์
            ตั้งชื่อว่า Dam_ชื่อเรา ลงใน RTArcGIS จากนั้นเปิดข้อมูล Pasak ขึ้นมา แล้วลากขอบเขตการปกครองที่ชื่อว่า a5238i , a5238iii , a5238iv และ a5239iii ลง Display area


            จากนั้นไปที่ Geoprocessing > เลือก Merge


ที่ช่อง Input ให้เลือกขอบเขตการปกครอง > Output ตั้งชื่อว่า Admin > OK


            เมื่อเสร็จแล้วจะได้ข้อมูลขอบเขตการปกครองที่ Merge เรียบร้อยดังภาพ


จากนั้น Remove ขอบเขตการปกครองออกไปให้หมดเหลือไว้แค่ Admin เท่านั้น


จากนั้นเปิดตาราง Admin ขึ้นมา แล้วดูค่าตาราง


จากนั้นเปิดแฟ้ม Pasak ขึ้นมา  > Code  >  เลือก luprv luamp lutam ลากลงมาที่ Display Area


            จากนั้นเปิดตาราง Admin กับ luprv ขึ้นมาแล้วดูตารางว่ามีตารางไหนที่เหมือนกัน ในที่นี้มี PRV_ID ที่เหมือนกันในตาราง Admin กับ luprv ดังนั้นจึงเป็นตารางแบบ 1 : 1 เราจึงต้องมาทำการ Join โดยเข้าไปที่ Table Options > มาที่ Join and Relates > จากนั้นเลือก Join เพื่อรวมตาราง


         จะมีหน้าต่าง Join Data ขึ้นมา ให้ใช้ PRV_ID ในการ Join กับ luprv > OK


จะได้ตาราง PRV_ID ที่รวมกันเรียบร้อยแล้วดังภาพ


จากนั้นเปิดตาราง Admin กับ luamp  ขึ้นมาแล้วดูตารางว่ามีตารางไหนที่เกี่ยวกับอำเภอที่เหมือนกัน ในที่นี้มี AMP_ID ที่เหมือนกันในตาราง Admin กับ luamp ดังนั้นจึงเป็นตารางแบบ 1 : 1


เราจึงต้องมาทำการ Join โดยเข้าไปที่ Table Options > มาที่ Join and Relates > จากนั้นเลือก Join เพื่อรวมตาราง


จากนั้นจะมีหน้าต่าง Join Data ขึ้นมา ให้ใช้ AMP_ID ในการ Join กับ luamp > OK


            จะได้ตาราง AMP_ID ที่รวมกันเรียบร้อยดังภาพ


จากนั้นเปิดข้อมูลตาราง lutam ขึ้นมา แล้วดูว่ามีตารางไหนที่ Admin กับ lutam เหมือนกัน ในที่นี้เราจะเลือก ADM_ID ในการนำมารวมตาราง


จากนั้นจะมีหน้าต่าง Join Data ขึ้นมา ให้ใช้ ADM_ID ในการ Join กับ lutam > OK


            จะได้ตาราง ADM_ID ที่รวมกันเรียบร้อยดังภาพ


            ขั้นตอนต่อไปให้เราเปิดข้อมูล Dam ในแฟ้มข้อมูล PASAK ขึ้นมา


จากนั้นเราจะทำการ Buffer โดยมาที่ Geoprocessing เลือกทำการ Buffer


            ที่ช่อง Input ให้เลือก Dam จากนั้นตั้งชื่อว่า Dam500 ใส่ค่า Linear เป็น 500 Meters > OK


จะได้ข้อมูล Dam500 ขึ้นมาดังภาพ


            จากนั้นเราจะทำการ Clip ข้อมูล Dam500 กับ Admin โดยเข้าไปที่ Geoprocessing เลือก Clip


            จากนั้นที่ช่อง Input เลือก Admin > ที่ช่อง Clip เลือก Dam500 > ตั้งชื่อว่า Admin500 เก็บไว้ในแฟ้มข้อมูล Dam > OK


            จะได้ข้อมูล Admin500 ที่ทำการ Clip เสร็จขึ้นมาดังภาพ


จากนั้นลากโพลิกอนที่ชื่อว่า l5138i , l5238iii , l5238iv และ l5239iii ลงมาที่ Display Area


            จากนั้นเราจะทำการ Merge ข้อมูลป่าสัก โดยไปที่ Geoprocessing เลือก Merge


            จากนั้นจะมีหน้าต่าง Merge ขึ้นมา ที่ช่อง Input ให้เลือก l5138i , l5238iii , l5238iv และ l5239iii แล้วให้ตั้งชื่อว่า LU จากนั้นกด OK


เมื่อทำการ Merge เสร็จแล้วก็จะได้ข้อมูลขึ้นมาดังภาพ


            จากนั้นเปิดตาราง LU กับ lucode ขึ้นมา


            จากนั้นไปที่ Table Options > เข้าไปที่ Join and Relate > เลือก Join


            ในที่นี้เราจะทำการ Join ที่ตารางข้อมูล lucode > OK


            จะได้ตารางข้อมูล lucode ที่ทำการ Join เรียบร้อยแล้วขึ้นมาดังภาพ


            ต่อมาเราจะทำการ Clip ข้อมูล Dam500 กับ LU เราจะทำการ Clip โดยไปที่ Geoprocessing เลือก Clip

            จะมีหน้าต่าง Clip ขึ้นมา เราจะนำเข้าข้อมูล LU มา Clip กับข้อมูล Dam500 แล้วตั้งชื่อว่า LU500 จากนั้น OK


                        จะได้ข้อมูล Lu500 ขึ้นมาดังภาพ



            จากนั้นเราจะทำการ Union ข้อมูล LU500 กับ Admin500 โดยเข้าไปที่ Geoprocessing เลือก Union



            จากนั้นเราจะทำการ Union ข้อมูล โดยเลือก Input เป็น Admin500 กับ LU500 แล้วตั้งชื่อว่า Final จากนั้น OK



            จะได้ข้อมูลพื้นที่ที่ Union กันดังภาพ



            จากนั้นเปิดตาราง Final ขึ้นมา ไปที่ Table options จากนั้น Add field



            จะมีหน้าต่าง Add Field ขึ้นมา ตั้งชื่อว่า Area เลือก Type เป็น Float ใส่ค่า Precision เป็น 20 ค่า Scale เป็น 2 จากนั้นกด OK



            จากนั้นคลิกขวาที่ Area เลือก Calculator Geometry



            จะมีหน้าต่างขึ้นมาให้กด Yes แล้วจะมีหน้าต่าง Calculate Geometry ขึ้นมา กด OK ได้เลย



            ก็จะได้ข้อมูลพื้นที่ขึ้นมาดังภาพ



เราสามารถเปิดแฟ้มตารางข้อมูลใน Excel ได้ โดยเปิด Excel ขึ้นมา จากนั้นเปิด Attribute ของ Final ขึ้นมา เลือก All files เราจะใช้ไฟล์  Final.dbf  >  Open



            
          จากนั้นจะได้ข้อมูลขึ้นมาดังภาพ


            จากนั้นไปที่แทรก เลือก PivotTable



จะมีหน้าต่างการสร้าง PivotTable ขึ้นมา กดตกลงได้เลย



             จากนั้นจะมีหน้าต่างขึ้นมาดังภาพ


จากนั้นติ๊กถูกที่หน้า luprv_PRV1 , luamp_AMP1 และ lutam_TAM_ จะได้ข้อมูลจังหวัด อำเภอและข้อมูลตำบลขึ้นมาดังภาพ


            จากนั้นเข้ามาดูที่ตาราง Attribute ใน ArcMap แล้วดูว่าตารางไหนที่เก็บข้อมูลการใช้ประโยชน์ที่ดิน ในที่นี้คือ lucode_ASS


จากนั้นเข้า Excel แล้วติ๊กถูกที่ lucode_ASS จะได้ข้อมูลการใช้ประโยชน์ที่ดินขึ้นมาดังภาพ


จากนั้นเราต้องการจะดูพื้นที่การใช้ประโยชน์ที่ดิน เราสามารถติ๊กถูกที่หน้า Area ก็จะขึ้นพื้นที่ให้เรา ดังภาพ













           



           


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น